วันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2557

Speaking

Ordering Fast Food 


บทสนทนาที่1

A: Welcome, what would you like to order?


     ยินดีต้อนรับครับ คุณอยากสั่งอะไรครับ

B: I would like to get a double cheeseburger.
     ฉันอยากได้ชีสเบอร์เกอร์สองชิ้นค่ะ

A: Would you like everything on it?
     คุณอยากใส่รวมทุกอย่างใช่ไหมครับ

B: I would like everything on it, thank you.
     ฉันต้องการใส่ทุกอย่างเลยค่ะ ขอบคุณค่ะ

A: Do you want any fries?
     คุณจะเอามันฝรั่งทอดไหมครับ

B: Let me get some large curly fries.
     เอามันฝรั่งทอดกะหรี่ใหญ่ๆให้ฉันค่ะ

A: Would you like anything to drink?
     คุณต้องการเครื่องดื่มอะไรไหมครับ

B: I want a glass of pepsi?
     ฉันขอเปปซี่แก้วนึงค่ะ

A: OK, just moment
     โอเคครับ รอสักครู่
นะครับ

B: Thank you.
     ขอบคุณค่ะ
บทสนทนาที่2

A: How may I help you?
     มีอะไรให้ฉันช่วยไหมคะ

B: A double cheeseburger please.
     ชีสเบอร์เกอร์สองชิ้นค่ะ

A: Everything on it?
     ใส่ทุกอย่างเลยไหมคะ

B: Yes, please.
      ค่ะ

A: Would you like fries ?
     คุณจะเอามันทอดไหมคะ

B: I would love large curly fries.
     ฉันชอบมันทอดกะหรี่ใหญ่ๆค่ะ

A: Would you like anything to drink?
     คุณจะเอาเครื่องดื่มอะไรบ้างคะ

B: Yes, let me have a medium Pepsi.
     ค่ะ เอาเปปซี่ขนาดกลางค่ะ

A: just moment please.
     รอสักครู่นะคะ

B: Thank you.
     ขอบคุณค่ะ
.............................................................................................................................................................

Ordering Food and Drinks

บทสนทนาที่1


A: Can I start you off with anything to drink?
     คุณจะรับอะไรดีสำหรับเครื่องดื่มครับ

B: Yes, may I have some water, please?
     ค่ะ ฉันขอน้ำเปล่าได้ไหมคะ

A: Sure, would you like any appetizers today?
     ได้ครับ วันนี้คุณจะสั่งอาหารเรียกน้ำย่อยอะไรไหมครับ

B: May I get an order of barbeque wings?
     ฉันจะสั่งปีกบาร์บีคิวได้ไหมคะ

A: No problem, can I get you anything else?
     ไม่มีปัญหา คุณจะรับอะไรอีกไหม


B: No, thank you, that'll be all for now.
     ไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ นั่นพอแล้วค่ะตอนนี้

A: Let me know when you're ready to order your food.
     แจ้งให้ผมทราบด้วยครับเมื่อคุณพร้อมสั่งอาหาร

B: I'm ready.
     ฉันพร้อมแล้วค่ะ

A: What can I get you?
     คุณรับอะไรดีครับ

B: May I have the fettuccini Alfredo?
     เอาพาสต้าอัลเฟรให้ฉันได้ไหมคะ

A: Will that be all?
    แค่นั้นใช่ไหมครับ

B: Yes, that's it.
     ใช่ แค่นั้นค่ะ




บทสนทนาที่2



A: Good evening, can I get you a drink?
     สวัสดีตอนเย็น คุณจะเอาเครื่องดื่มอะไรดีครับ

B: Sure, I would like a Coke.
     ค่ะ ฉันขอโค้กค่ะ
A: Would you like to order anything off the appetizer menu?
     คุณอยากจะสั่งเมนูเรียกน้ำย่อยอะไรบ้างคะ

B: Can I get some fried zucchini, please?
     ฉันจะเอาผัดซูคินีได้ไหมคะ

A: Would you like to order anything else?
     คุณต้องการสั่งอะไรอีกไหมคะ

B: No, thank you.
     ไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ

A: No problem, call me when you're ready to place the rest of your order.
     ไม่มีปัญหา  เรียกผมหากคุณจะสั่งส่วนที่เหลือ

B: I would like to order my food now.
    ฉันอยากจะสั่งอาหารแล้วตอนนี้

A: What did you want to order?
     คุณต้องการสั่งอะไรครับ

B: Can I get a cheeseburger ?
     ฉันจะเอาชีสเบอร์เกอร์ได้ไหมคะ

A: Can I get you anything else?
     คุณจะเอาอะไรอีกไหม

B: That's all, thank you.
      พอแล้วค่ะ ขอบคุณค่ะ
   .........................................................................................................................................................

Ordering Drinks

บทสนทนาที่1

A: May I take your drink order while you are looking over your menu?
     ผมจะรับออเดอร์เครื่องดื่มด้วยในขณะที่คุณกำลังดูเมนูอยู่ได้ไหมครับ

B: Yes, do you have a wine list?
     ค่ะ คุณมีรายการไวน์ไหมคะ

A: The wine list is on the second page of your menu.
     รายการไวน์อยู่หน้าที่สองของเมนูครับ

B: Do you have mixed drinks in this restaurant?
     คุณมีเครื่องดื่มมิซในร้านอาหารนี้ไหมคะ

A: Yes, we have a full bar here.
     ใช่ เรามีบาร์ที่นี่

B: I am not sure what I want. Do you have any house specials?
     ฉันยังไม่แน่ใจว่าจะเอาอะไรดี คุณอะไรที่พิเศษๆบ้างไหมคะ

A: Actually, we have  margaritas.
     ที่จริง เรามีมาการิต้าครับ

B: Please bring me one of those.
     ช่วยเอามาให้ฉันหนึ่งที่ค่ะ

A: Would you like that drink blended or on the rocks?
     คุณต้องการแบบผสมหรือแบบเพียวๆครับ

B: I would like it blended.
     ฉันต้องการแบบผสมค่ะ

A: Would you like it with salt or no salt?
     คุณต้องการใส่เกลือหรือไม่ใส่ครับ

B: I would like my margarita with no salt, thank you.
     ฉันต้องการมาการิต้าแบบไม่ต้องใส่เกลือค่ะ ขอบคุณค่ะ



บทสนทนาที่2

A: Can I take your drink order?
     ผมจะรับออเดอร์เครื่องดื่มคุณได้ไหมครับ

B: Where is your wine list?
     รายการไวน์อยู่ไหนคะ

A: The wine choices are posted on the little menu in the middle of the table.
     รายการไวน์อยู่ตรงเมนุเล็กๆตรงกลางโต๊ะครับ

B: Do you have any mixed drinks  here?
     คุณมีเครื่องดื่มผสมที่นี่ไหมคะ

A: We can make a number of mixed drinks at our bar.
     เราสามารถเครื่องดื่มผสมที่บาร์ของเราครับ

B: What are your specials?
     คุณมีอะไรที่พิเศษบ้าง

A: Our special is our margarita.
     ความพิเศษเราคือ มาการิต้า

B: I would love a margarita
     ฉันก็ชอบมาการิต้านะ

A: Can I prepare your drink on the rocks, or would you prefer it blended?
     ผมจะเตรียมแบบเพียวๆ หรือว่าคุณชอบแบบผสม

B: I prefer my margarita on the rocks, please.
     ฉันชอบมาการิต้าในแบบเพียวๆค่ะ

A: Do you like your margarita with salt or no salt?
     คุณชอบมาการิต้าแบบใส่เกลือหรือไม่ใส่คะ

B: No salt, please.
    ไม่ใส่เกลือค่ะ 
..................................................................................................................................................................

 Making a Reservation 

บทสนทนาที่1

A: Shogun Restaurant.
     ร้านอาหารโชกุนค่ะ

B: Hi, I would like to make a dinner reservation.
     ค่ะ ฉันอยากจะทำการจองโต๊ะค่ะ

A: Of course, what evening will you be joining us on?
     ได้ค่ะ คุณอยากจะจองในเย็นไหนคะ

B: We will need the reservation for Tuesday night.
     เราอยากจะจองในคืนวันอังคาร

A: What time would you like the reservation for?
     คุณอยากจะจองในเวลาเท่าไหร่

B: We would prefer 7:30 pm.
     เราอยากจองทุ่มครึ่ง 

A: How many people will you need the reservation for?
     คุณจะจองสำหรับคนจำนวนเท่าไหร่คะ

B: There will be 4 of us.
     สี่ท่านค่ะ

A: Fine, 7:30 on Tuesday, may i have your name.
     ค่ะ ทุ่มสามสิบ วันอังคาร ขอทราบชื่อคุณหน่อยค่ะ

B: My name is shara.
     ฉันชื่อซาร่าค่ะ

A: See you at 7:30 this Tuesday, Ms. shara.
     เจอกันทุ่มสามวันอังคารนี้นะคะ คุณซ่าร่า

B: Thank you so much.
      ขอบคุณมากค่ะ 




บทสนทนาที่2


A: Shogun Restaurant .
     ภัตตาคาร โชกุนค่ะ

B: Hi, could you help me? I need to make a dinner reservation.
     ค่ะ คุณช่วยฉันได้ไหมคะ ฉันต้องการจองโต๊ะค่ะ

A: I can help you if you can just tell me what evening you like the reservation for.
     ฉันช่วยคุณได้เพียงแค่คุณบอกมาว่าจะจองในวันไหน

B: Tuesday night is when we need the reservation for.
     เราอยากจะจองในเย้นวันอังค่ารค่ะ

A: What time do you think that you would like to have dinner?
     คุณคิดว่าคุรจะมาทานอาหารกี่โมงคะ

B: 7:00pm , or maybe 7:30pm.
     ทุ่มหนึ่ง หรือ อาจ ทุ่มครึ่ง

A: How many diners will be in your group?
     คนของคุณมีจำนวนเท่าไหร่คะ

B: We need a reservation for four.
     เราต้องการจองสำหรับสี่คนค่ะ

A: I have a table for four available at 7:00, if you would just give me your name.
     ฉันจะจัดโต๊ะสำหรับสี่คน ทุ่มหนึ่ง ขอชื่อคุณหน่อยค่ะ

B: My name is Shara.
     ฉันชื่อซาร่า

A: Ms.Shara, we will be expecting you this Tuesday at 7:00.
     คุณซาร่า เราหวังว่าจะเจอคุณในวันอังคารนี้ทุ่มหนึ่งนะคะ

B: Thanks for the help
     ขอบคุณมากที่ช่วยค่ะ

................................................................................................................................................................

Choosing a Restaurant

บทสนทนาที่1

A: Devi, have you thought about where would you like to go to dinner on Friday for your birthday?
     ดีวี่ คุณคิดหรือยังว่าจะไปทานข้าวเย็นที่ไหนในวันคุกร์สำหรับวันเกิดคุณ

B: I am not sure. I don't know that many restaurants around here.
     ฉันยังไม่แน่ใจ ฉันไม่ค่อยรู้ร้านอาหารแถวนี้

A: You know, we could look online at the local Internet sites.
     คุณรู้ไหม เราสามารถดูตำแหน่งบนอินเตอร์เน็ตได้นะ

B: Good. Let's take a look!
     ดี ไปดูกันเถอะ

A: What kind of food would you like for your birthday?
     คุณชอบอาหารอะไรสำหรับวันเกิดคุณ

B: I enjoy Thai or Japanese the best.
     ฉันชอบอาหารไทยและญี่ปุ่นที่สุด

A: This one, Shogun, looks good.
     อันนี้ โชกุน ดีนะ

B: Oh yes, I've heard of that one. Everyone I've spoken with says that it is great!
     โอ้ใช่ ฉันเคยได้ยิน ทุกคนพูดกับฉันว่ามันเยี่ยมมาก

A: Would you like to go there then?
     คุณอยากจะไปที่นั่นไหม

B: I think that that would be a really good choice! Let's call and make a reservation.
     ฉันคิดว่านั่นเป็นตัวเลือกที่ดี โทรไปจองเลย





บทสนทนาที่2

A: Devi, do you have a favorite place that you would like to go to for your birthday dinner?
     ดีวี่ คุณมีสถานที่ที่ชอบที่จะไปทานข้าวงานวันเกิดคุณไหม

B: I am kind of at a loss right now to think of some place special.
     ฉันคิดไม่ออกเลยว่าจะไปที่ไหนดี

A: I've got a great guidebook here of local restaurants.
     ฉันมีหนังสือแนะนำร้านอาหารที่นี่

B: That would be a good place to look.
     นั่นคงมีที่ดีๆ

A: What is your favorite type of restaurant food?
     คุณชอบร้านอาหารแบบไหน

B: I like a lot of things, but Thai or Japanese would be good.
     ฉันชอบของมากมาย แต่อาหารไทยและอาหารญี่ปุ่น

A: Shogun looks pretty good!
     โชกุนก็ดูเยี่ยมนะ

B: Oh, I remember that restaurant. I went there years ago. I really enjoyed it!
      โอ้ฉันจำร้านอาหารนั้นได้ ฉันไปที่นั่นเมื่อปีที่แล้ว ฉันสนุกมาก

A: Would that be a good choice for your birthday dinner then?
     นั่นเป็นตัวเลือกที่ดีเลยสำหรับงานวันเกิดของคุณ

B: Let's call ahead to make sure that we can get a table for that night.
     โทรไปซิว่าเราสามารถจองได้ไหมคืนนี้
..................................................................................................................................................................
  1. ข้อเสนอแนะในการเรียนเรื่อง Speaking ครูผู้สอนต้องออกเสียงที่แม่นยำ สำเนียงใช้ได้เพื่อให้นักเรียนมีแบบอย่างที่ถูกต้อง แต่ถ้าครูผู้สอนไม่มั่นใจเรื่องสำเนียงก็ควรจะหาเทป หรือ วิดีโอที่เจ้าของภาษาเป็นคนพูดมใาให้นักเรียนฟังและพูดตามSee More

Reading (Scanning)

                                    การอ่านแบบคร่าว (Scanning)



Skimming and Scanning
Skimmingrefers to the process of reading only main ideas within a passage to get an overall impression of the content of a reading
selection.

How to Skim:
* Read the title.
* Read the introduction or the first paragraph.
* Read the first sentence of every other paragraph.
* Read any headings and sub-headings.
* Notice any pictures, charts, or graphs.
* Notice any italicized or boldface words or phrases.
* Read the summary or last paragraph.
Scanning
is a reading technique to be used when you want to find specific information quickly. In scanning you have a question in your mind and you read a passage only to find the answer, ignoring unrelated information.
How to Scan:
* State the specific information you are looking for.
* Try to anticipate how the answer will appear and what clues you might use to help you locate the answer. For example, if you were looking for a certain date, you would quickly read the paragraph looking only for numbers.
* Use headings and any other aids that will help you identify which sections might contain the information you are looking for.
* Selectively read and skip through sections of the passage.
(From College Reading and Study Skills and

Academic Reading and Study Skills for International Students)
สรุป
     Skimming   เป็นวิธีการอ่านแบบหนึ่งที่แตกต่างไปจากการอ่านแบบธรรมดา  เพราะการอ่านแบบนี้เป็นการอ่านแบบรวดเร็วเพื่อต้องการข้อมูลโดยทั่ว ๆ ไป ( general  information )  จะไม่อ่านทุกตัวอักษรแต่จะอ่านข้าม ๆ แต่ก็สามารถจับใจความได้
                                                                                   
 ขั้นตอนของการ  Skimming
1.      อ่านหัวเรื่อง
2.      ดูชื่อผู้แต่ง  และหนังสืออ้างอิง
3.      อ่านย่อหน้าแรกอย่างละเอียด
4.      อ่านหัวเรื่องย่อยและประโยคแรกของย่อหน้าที่เหลือ
5.      อ่านเรื่องทั้งหมดอย่างรวดเร็วเพื่อหา
 a   main  idea  ของทุกย่อหน้าพร้อมทั้ง   supporting  detail
 b   clue  words เช่น  ชื่อคน  ชื่อวัน  และ  adj  ที่สำคัญ
 c    คำที่แสดงความคิดของผู้แต่ง  เช่น  เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
 d    เครื่องหมายตัวชี้ต่าง ๆ เช่น  ตัวพิมพ์เอน  ตัวพิมพ์หนา  ลูกศร  ดาว       
6.       ในย่อหน้าสุดท้าย  ถ้าเป็นการสรุปต้องอ่านให้ละเอียด
7.      นักเรียนต้อง Skim  เรื่องส่วนใหญ่ให้ได้  1,000 คำ  ต่อ วินาที
                                                
      อย่างไรก็ดี  นักเรียนควรฝึกการ  Skim  ให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะทำได้  ทักษะในการ  Skim  จะดีขึ้นพยายามฝึก  Skim  เมื่อ
1.      อ่านหนังสือพิมพ์  หรือ  แมกกาซีน
2.      ต้องการจับใจความสำคัญ  “ gist “  ของบทความ
3.      การต้องการเลือกหนังสือในห้องสมุดก่อนที่จะตัดสินใจยืมเล่มหนึ่งออกมา
4.      ต้องการสุมปริมาณความคิดเห็น  และความเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
5.      ต้องการรวบรวมข้อมูล  สำหรับการพูด  หรือการเขียน  paper

 การอ่านแบบ  Scanning

Scanning   คือการอ่านอย่างรวดเร็ว  เช่นเดียวกับ  Skimming  แต่ต่างกันตรงที่  Scan  เป็นการอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อหาข้อมูลบางอย่างที่ต้องการ  เช่น  การหาชื่อคนในสมุดโทรศัพท์  เป็นตัวอย่างที่ดีของการ  Scan
วิธี Scan  มีประโยชน์มากในการอ่าน เพราะทำให้ได้ข้อมูลที่ต้องการภายในเวลารวดเร็ว  เช่น ในเวลาอ่านเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  นักเรียนอาจต้องหาเพียง  ชื่อ  วันที่  สถิติ  หรือข้อเท็จจริงบางอย่างเท่านั้น  นักเรียนไม่มีความจำเป็นที่จะต้องอ่านเรื่องทั้งหมด  เพียงแต่กวาดสายตาอย่างรวดเร็ว  ทีละ  2  3  บรรทัด  เพื่อหาสิ่งที่นักเรียนต้องการ  แต่ที่สำคัญคือ  นักเรียนจะต้องรู้อยู่ตลอดเวลาว่า  กำลังหาอะไร  ในใจนักเรียน  จะต้องกำหนดสิ่งนั้นอย่างชัดเจน  เพื่อที่เวลานักเรียนอ่านนักเรียนอ่าน นักเรียนจะรู้สึกว่า  มองหาสิ่งที่ต้องการปรากฏออกมาอย่างเด่นชัด

ขั้นตอนการ  Scan
1.      จดบันทึก  เวลา  เมื่อเริ่มทำแบบฝึกหัด
2.      อ่านถามแรก  ตอนต้นเรื่อง
3.      Scan  paragraph  ต่อ ๆ ไป  เพื่อหาคำตอบให้กับคำถาม  ปล่อยสายตาให้เคลื่อนไปอย่างรวดเร็วจะพบ ประโยคที่ให้คำตอบ  แล้วอ่านประโยคนั้น
4.      ขีดเส้นหรือ  ทำเครื่องหมายบรรทัดที่ให้คำตอบได้ถูกต้อง
5.      เมื่อนักเรียนตอบคำถามหนึ่งได้แล้ว  ให้ทำต่อไปโดยทำซ้ำ  ขั้นตอน 2  4  จนกว่าจะตอบคำถาม อื่น ๆ ได้หมด

6.      จนตลอดเวลาที่ทำเสร็จ  แล้วตรวจคำตอ.
                                                          
                                                              E-Education begins
                RANGOON – Burma launched an ambitious e–education program over the weekend with the opening of 203 electronic learning centers in all states and divisions nationwide, official media reports said recently.
            The “Electronic Data Broadcasting System” we officially inaugurated recently by the Ministry of Education and Ministry of Information, said the state run New Light of Myanmar newspaper.
            Under the program, students will have access to lectures on “academic subjects and technology subjects” at special learning centers via computer, satellite links and television.
 1. Where in  Burma inaugurated e-education program?
            a. Myanmar            b. Rangoon
            c. all the states       d. centre of Burma
2. When did e-education program open?
            a. everyday            b. every week
            c. every month       d. only weekend
 3. Which subjects do the students have on this program?
            a. technology and academic subjects     b. academic subjects and electronic
            c. technology and science subject          d. Mathematics and English
4. Ms. Chantana: Can I study the English subject via television?
    The students: ........................................................
   a. Yes, I can.   b. No, I can’t.
   c. Yes, you can.  d. No, you can’t

เฉลยแบบฝึกหัด:
1. b.  คำแรกของประโยคแรกในเรื่อง บอกชัดเจนว่า  RANGOON (เมืองย่างกุ้ง) ของประเทศพม่า เป็นสถานที่ที่ใช้เริ่มโปรแกรมการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเป็นทางการ
2. d. over the weekend ในย่อหน้าแรก เป็นคีย์เวิร์ด สำคัญนำไปสู่คำตอบที่ว่าโปรแกรมการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส์ เปิดให้บริการในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร์ และอาทิตย์) เท่านั้น
3. a. technology and academic subject เทคโนโลยี และวิชาการ เป็นสองวิชา ที่นักเรียนจะได้เรียนในโปรแกรมนี้ 4. c. television คีย์เวิร์ด ในย่อหน้าสุดท้าย และคำสุดท้ายของเรื่อง ช่วยให้ได้คำตอบว่า นักเรียนสามารถเรียนภาษาอังกฤษ ผ่านโทรทัศน์ได้
  1. ข้อเสนอแนะในการเรียนเรื่องการอ่านคือ ครูผู้สอนต้องเข้าใจรายละเอียดที่จะสอนผู้เรียนอย่างแท้จริงเพราะการอ่านแบบ Skimming และ Scanning มีความคล้ายคลึงกันมาก ครูผู้สอนต้องบอกนักเรียนให้ได้ว่าแตกต่างกันตรงไหนเพื่อป้องกันความสับสนของผู้เรียนSee More

 Present Continuous Tense

วิธีการสร้างประโยค Present Continuous Tense

โครงสร้าง
Subject + is/am/are + V.-ing
ประโยคบอกเล่า
I
am
talking
to her.
You / We / They
are
reading
magazines.
He / She / It
is
sleeping
on the couch.
ครงสร้าง
Subject + is/am/are + not + V.-ing
ประโยคปฏิเสธ
I
am
not
talking
to her.
You / We / They
are
not
reading
magazines.
He / She / It
is
not
sleeping
on the couch.
โครงสร้าง
Is/Am/Are + Subject + V.-ing?
ประโยคคำถาม
Am
I
talking
to her?
Are
you / we / they
reading
magazines?
Is
he / she / it
sleeping
on the couch?
โครงสร้าง
Who/What/Where/When/Why/How + is/am/are + Subject + V.-ing?
ประโยคคำถาม 
Wh-
Who
am
I
talking to?
What
are
you / we / they
reading?
Where
is
he / she / it
sleeping?
*คำปฏิเสธรูปย่อของ is / am / are not คือ isn’t, aren’t และ aren’t

หลักการใช้ Present Continuous Tense

  1. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่ กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูด ต่อเนื่องไปเรื่อยๆและจบในอนาคต โดยอาจจะใช้ Adverbs of Time (คำกริยาวิเศษณ์บอกเวลา) บางคำ เช่น now, at the moment, right now, at present, these days เป็นต้น เข้ามาช่วยในประโยคด้วย เช่น
She is going to the supermarket at the moment.
(หล่อนกำลังไปซุปเปอร์มาร์เกตอยู่ตอนนี้)
  1. ใช้เพื่อพูดถึงเหตุการณ์หรือการกระทำที่ กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ เช่น
 I am meeting my boss this evening.
(ฉันจะพบกับเจ้านายเย็นนี้)
  1. ใช้แสดงเหตุการณ์หรือการกระทำที่ ผู้พูดมั่นใจว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างแน่นอน เช่น
 He is going to China tonight.
(เขาจะเดินทางไปยังประเทศจีนคืนนี้)
  1. กริยาบางตัวไม่สามารถใช้ในรูปของ Present Continuous Tense ได้ ถึงแม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะกำลังเกิดขึ้น หรือ ดำเนินอยู่ก็ตาม โดยเรามักใช้ในรูปของ Present Simple Tense กับคำกริยากลุ่มนี้แทน ซึ่ง ได้แก่
4.1) กริยาที่แสดงถึงประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น see, hear, feel, taste, smell

I smell something bad. (ถูก)
* I am smelling something bad. (ผิด)
4.2) กริยาที่แสดงความนึกคิด ความรู้สึก เช่น know, understand, think, believe, agree, notice, doubt, suppose, forget, remember, consider, recognize, appreciate, forgive

I believe her. (ถูก)
* I am believing her. (ผิด)

4.3) กริยาที่แสดงความชอบและความไม่ชอบ เช่น like, dislike, love, hate, prefer, trust, detest

He likes a woman with long hair. (ถูก)
* He is liking a woman with long hair. (ผิด)
4.4) กริยาที่แสดงความปรารถนา เช่น wish, want, desire, prefer

I want to get married. (ถูก)
* I am wanting to get married. (ผิด)
4.5) กริยาที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น possess, have, own, belong

She has no children. (ถูก)
* She is having no children. (ผิด)
  1. ข้อเสนอแนะในการเรียน Present continuous tense

    ในการเรียนเรื่องนี้คุณครูผู้สอนต้องสอนให้นักเรียนเข้าใจเพราะแกรมม่่าเป็นเรื่องที่ยากจะเข้าใจ ครูควรมีเทคนิคการสอนที่ง่ายต่อการที่จะให้นักเรียนเข้าใจ ครูผู้สอนไม่ควรใช้วิธีสอนแบบเดิมๆเพราะจะทำให้นักเรียนรู้สึกเบื่อและไม่ตั้งใจเรียน สุดท้ายจะทำให้นักเรียนไม่สนใจเรียน
    See More